วันเสาร์ที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

Diary Note 28 April 2017

บันทึกการเรียนครั้งที่ 11  เรียนชดเชย


สอนกิจกรรมเสริมประสบการณ์

หน่วย อาหารหลัก 5 หมู่ เรื่อง ประโยชน์



  • สงบเด็ก  ด้วยเพลง

ปลาหมึกหนวดยาว  หนวดยาวตัวขาวน่ารัก

เวลาหยุดพักชอบยักไหล่เล่น

ยักเช้า ยักเย็น ยักเล่นๆ

แล้วก็ยัก ยัก ยัก  ปลาหมึกผูกโบว์


หน่วย ยานพาหนะ



หน่วย สัตว์


หน่วยผักสดสะอาด





หน่วยกลางวันกลางคืน


หน่วยข้าว




สิ่งที่ได้รับในวันนี้
ตนเอง
-ได้รู้ข้อผิดพลาดและเทคนิคในการสอนเสริมประสบการณ์ของแต่ละกลุ่ม
เพื่อน
-ให้ความร่วมมือดี
อาจารย์
-มีเทคนิคในการสอนที่ดีและมีสื่อการสอนที่ทันสมัยน่าเรียนและยังเต็มที่กับการสอนทุกครั้ง

Diary Note 24 April 2017

บันทึกการเรียนครั้งที่ 10



สอนกิจกรรมเสริมประสบการณ์


                                                         กลุ่ม สัตว์น่ารัก
                                                         กลุ่ม ยานพาหนะ
                                                         กลุ่ม ผักสดสะอาด
                                                         กลุ่ม ข้าว
                                                         กลุ่ม ครอบครัว
                                                         กลุ่ม กลางวันกลางคืน








สิ่งที่ได้รับในวันนี้
ตนเอง
-ได้รู้ข้อผิดพลาดและเทคนิคในการสอนเสริมประสบการณ์ของแต่ละกลุ่ม
เพื่อน
-ให้ความร่วมมือดี
อาจารย์
-มีเทคนิคในการสอนที่ดีและมีสื่อการสอนที่ทันสมัยน่าเรียนและยังเต็มที่กับการสอนทุกครั้ง


Diary Note 20 April 2017

บันทึกการเรียนครั้งที่ 9 เรียนชดเชย


สอนกิจกรรมเสริมประสบการณ์

                                                               กลุ่ม สัตว์น่ารัก
                                                         กลุ่ม ยานพาหนะ
                                                         กลุ่ม ผักสดสะอาด
                                                         กลุ่ม ข้าว
                                                         กลุ่ม ครอบครัว




สิ่งที่ได้รับในวันนี้
ตนเอง
-ได้รู้ข้อผิดพลาดและเทคนิคในการสอนเสริมประสบการณ์
เพื่อน
-ให้ความร่วมมือดี
อาจารย์
-มีเทคนิคในการสอนที่ดีและมีสื่อการสอนที่ทันสมัยน่าเรียนและยังเต็มที่กับการสอนทุกครั้ง

Diary Note 27 March 2017

บันทึกการเรียนครั้งที่ 8  เรียนกับอีกเซ็ค


สอนกิจกรรมเสริมประสบการณ์วันจันทร์

หน่วยเรื่องดิน
หน่วยเรื่องนม
หน่วยเรื่องสัตว์
หน่วยเรื่องไข่






สิ่งที่ได้รับในวันนี้
ตนเอง
-ได้รู้ข้อผิดพลาดและเทคนิคในการสอนเสริมประสบการณ์และจะนำคำแนะนำมาแก้ไขค่ะ
เพื่อน
-ให้ความร่วมมือดี
อาจารย์
-มีเทคนิคในการสอนที่ดีและมีสื่อการสอนที่ทันสมัยน่าเรียนและยังเต็มที่กับการสอนทุกครั้ง

Diary Note 13 March 2017

บันทึกการเรียนครั้งที่ 7


นิทานกับดักหนู








 โทรทัศน์ครูโปรเจ็คเห็ด  สอนแบบโครงการ


การสอนโปรเจ็คสามารถนำไปสอนต่อปัญญาทั้ง 8 ด้านได้
ปัญญาทั้ง 8 ด้าน (พหุปัญญา)

1. ปัญญาด้านภาษา (Linguistic Intelligence)
คือ ความสามารถในการใช้ภาษารูปแบบต่างๆ ตั้งแต่ภาษาพื้นเมือง จนถึงภาษาอื่นๆ ด้วย สามารถรับรู้ เข้าใจภาษา และสามารถสื่อภาษาให้ผู้อื่นเข้าใจได้ตามที่ต้องการ 

2. ปัญญาด้านตรรกศาสตร์และคณิตศาสตร์ (Logical-Mathematical Intelligence)
คือ ความสามารถในการคิดแบบมีเหตุและผล การคิดเชิงนามธรรม การคิดคาดการณ์ และการคิดคำนวณทางคณิตศาสตร์ 

3. ปัญญาด้านมิติสัมพันธ์ (Visual-Spatial Intelligence)
คือ ความสามารถในการรับรู้ทางสายตาได้ดี สามารถมองเห็นพื้นที่ รูปทรง ระยะทาง และตำแหน่ง อย่างสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน แล้วถ่ายทอดแสดงออกอย่างกลมกลืน มีความไวต่อการรับรู้ในเรื่องทิศทาง

4. ปัญญาด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว (Bodily Kinesthetic Intelligence)
คือ ความสามารถในการควบคุมและแสดงออกซึ่งความคิด ความรู้สึก โดยใช้อวัยวะส่วนต่างๆ ของร่างกาย รวมถึงความสามารถในการใช้มือประดิษฐ์ ความคล่องแคล่ว ความแข็งแรง ความรวดเร็ว ความยืดหยุ่น ความประณีต และความไวทางประสาทสัมผัส 

5. ปัญญาด้านดนตรี (Musical Intelligence)
คือ ความสามารถในการซึมซับ และเข้าถึงสุนทรียะทางดนตรี ทั้งการได้ยิน การรับรู้ การจดจำ และการแต่งเพลง สามารถจดจำจังหวะ ทำนอง และโครงสร้างทางดนตรีได้ดี และถ่ายทอดออกมาโดยการฮัมเพลง เคาะจังหวะ เล่นดนตรี และร้องเพลง 

6. ปัญญาด้านมนุษยสัมพันธ์ (Interpersonal Intelligence)
คือ ความสามารถในการเข้าใจผู้อื่น ทั้งด้านความรู้สึกนึกคิด อารมณ์ และเจตนาที่ซ่อนเร้นอยู่ภายใน มีความไวในการสังเกต สีหน้า ท่าทาง น้ำเสียง สามารถตอบสนองได้อย่างเหมาะสม สร้างมิตรภาพได้ง่าย เจรจาต่อรอง ลดความขัดแย้ง สามารถจูงใจผู้อื่นได้ดี เป็นปัญญาด้านที่จำเป็นต้องมีอยู่ในทุกคน 

7. ปัญญาด้านการเข้าใจตนเอง (Intrapersonal Intelligence)
คือ ความสามารถในการรู้จัก ตระหนักรู้ในตนเอง สามารถเท่าทันตนเอง ควบคุมการแสดงออกอย่างเหมาะสมตามกาลเทศะ และสถานการณ์ รู้ว่าเมื่อไหร่ควรเผชิญหน้า เมื่อไหร่ควรหลีกเลี่ยง เมื่อไหร่ต้องขอความช่วยเหลือ มองภาพตนเองตามความเป็นจริง รู้ถึงจุดอ่อน หรือข้อบกพร่องของตนเอง ในขณะเดียวกันก็รู้ว่าตนมีจุดแข็ง หรือความสามารถในเรื่องใด มีความรู้เท่าทันอารมณ์ ความรู้สึก ความคิด ความคาดหวัง ความปรารถนา และตัวตนของตนเองอย่างแท้จริง เป็นปัญญาด้านที่จำเป็นต้องมีอยู่ในทุกคนเช่นกัน เพื่อให้สามารถดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่า และมีความสุข

8. ปัญญาด้านธรรมชาติวิทยา (Naturalist Intelligence)
คือ ความสามารถในการรู้จัก และเข้าใจธรรมชาติอย่างลึกซึ้ง เข้าใจกฎเกณฑ์ ปรากฏการณ์ และการรังสรรค์ต่างๆ ของธรรมชาติ มีความไวในการสังเกต เพื่อคาดการณ์ความเป็นไปของธรรมชาติ มีความสามารถในการจัดจำแนก แยกแยะประเภทของสิ่งมีชีวิต ทั้งพืชและสัตว์ 

  • เรื่องที่จะสอนต้องดูด้วยว่า

-สอดคล้องกับตัวเด็กไหม
-ผู้ปกครองมีส่วนร่วมไหม
-ดูสิ่งแวดล้อม

  • ระยะแรก  ตอนสุดท้ายของระยะเตรียมการ คือ การตั้งประเด็นคำถาม
-เพื่อจะเอามาออกแบบกิจกรรมที่ทำร่วมกัน
-เพื่อให้เด็กรู้คำตอบ
-ครูต้องให้เด็กมีส่วนร่วมกับการทำกิจกรรมทุกครั้ง


  • ระยะที่สอง  ระยะพัฒนา
-หาวิทยากร
-สานสัมพันธ์กับผู้ปกครอง เพื่อชี้แจงการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง
-กิจกรรมโปรเจ็คไม่ใช่แค่เด็กเรียนแต่ในห้องเรียนแต่เด็กต้องเรียนนอกห้องเรียนด้วย
  • จัดระบบ
  1. เริ่มต้นทำอะไรบ้าง
  2. ระยะสรุปทำอะไรบ้าง
สิ่งสำคัญที่สุด คือ ครูคือผู้อำนวยความสะดวกไม่ใช่ผู้ถ่ายทอดความรู้

-ในโปรเจ็คต้องมีกราฟฟิกเข้าไปสอดแทรก

  • สาธิตการสอนเสริมประสบการณ์

ขั้นนำ - ใช้คำคล้องจอง    
           -  ถามประสบการณ์เดิมของเด็ก  แล้วบันทึกลงแผ่นชาร์จ

ขั้นสอน  - นำสิ่งของใส่ตะกร้า โดยใช้คำถามให้เด็กทายว่ามีอะไรอยู่ในตะกร้าบ้าง
               -  หยิบสิ่งของทีละชิ้นพร้อมบอกชื่อและนับจำนวน ติดตัวเลขกำกับไว้สิ่งของชิ้นสุดท้าย
               -  ครูและเด็กแยกเกณฑ์และนับจำนวนว่าอันไหนมากกว่าหรือน้อยกว่ากัน

ขั้นสรุป  - ทบทวนอีกครั้งว่าสิ่งของอันไหนมากกว่าและน้อยกว่ากัน







สิ่งที่ได้รับในวันนี้
ตนเอง
-ได้หลักการต่างๆและเทคนิคในการสอนแผนเคลื่อนไหวและการสอนกิจกรรมอื่นๆ
เพื่อน
-ให้ความร่วมมือดี
อาจารย์
-มีเทคนิคในการสอนที่ดีและมีสื่อการสอนที่ทันสมัยน่าเรียนและยังเต็มที่กับการสอนทุกครั้ง


Diary Note 6 March 2017

บันทึกการเรียนครั้งที่ 6


สอนกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ ของแต่ละกลุ่ม

                                                               กลุ่ม สัตว์น่ารัก
                                                               กลุ่ม ยานพาหนะ
                                                               กลุ่ม ผักสดสะอาด
                                                               กลุ่ม ข้าว
                                                               กลุ่ม ครอบครัว



  • เคลื่อนไหวพื้นฐาน
-การหาบริเวณและพื้นที่โดยการกางแขนออก เป็นต้น
  • วิธีเขียนแผน ควรเขียนให้มีเทคนิคที่หลากหลายของแต่ละอาทิตย์
  • ถ้าชั้นเตรียมอนุบาล-อนุบาล 1 เน้น ข้อตกลง
  • ถ้าชั้นอนุบาล 2 - อนุบาล 3 ไม่ต้องเน้นข้อตกลง
  • กิจกรรมการเรียนรู้แบบ BBL
BBL (Brain-based Learning) คือ การจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับพัฒนาการของสมองแต่ละช่วงวัย เป็นการนำองค์ความรู้เรื่องสมองมาใช้เป็นฐานในการออกแบบกระบวนการเรียนรู้ โดยมีที่มาจากศาสตร์
การเรียนรู้ 2 สาขา คือ
- ความรู้ทางประสาทวิทยาศาสตร์
- แนวคิด ทฤษฎีการเรียน
  • การจัดสภาพสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้แบบ BBL
1. จัดตกแต่งห้องเรียนให้มีสีเขียว เหลือง เป็นส่วนใหญ่
2. ห้องเรียนและบริเวณรอบๆ ห้องเรียนมีต้นไม้ร่มรื่น
3. จัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมกัน กระตุ้นการมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน
4. จัดให้มีสถานที่ อุปกรณ์ต่างๆ อยู่ในสภาพที่ปลอดภัย
5. จัดให้มีการเรียนรู้จากของจริง ประสบการณ์ตรงโดยผ่านประสาททั้ง 5 (การมองเห็น การได้ยิน การได้กลิ่น การได้ชิม การสัมผัส)

สิ่งที่ได้รับในวันนี้
ตนเอง
-ได้หลักการต่างๆและเทคนิคในการสอนแผนเคลื่อนไหวและการสอนกิจกรรมอื่นๆ
เพื่อน
-ให้ความร่วมมือดี
อาจารย์
-มีเทคนิคในการสอนที่ดีและมีสื่อการสอนที่ทันสมัยน่าเรียนและยังเต็มที่กับการสอนทุกครั้ง







Diary Note 4 March 2017 เรียนชดเชย

บันทึกการเรียนครั้งที่ 5



สอนกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ ของแต่ละกลุ่ม

                                                               กลุ่ม สัตว์น่ารัก
                                                               กลุ่ม ยานพาหนะ
                                                               กลุ่ม ผักสดสะอาด
                                                               กลุ่ม ข้าว
                                                               กลุ่ม ครอบครัว



สิ่งที่ได้รับในวันนี้
ตนเอง
-ได้หลักการต่างๆและเทคนิคในการสอนแผนเคลื่อนไหวและการสอนกิจกรรมอื่นๆ
เพื่อน
-ให้ความร่วมมือดี
อาจารย์
-มีเทคนิคในการสอนที่ดีและมีสื่อการสอนที่ทันสมัยน่าเรียนและยังเต็มที่กับการสอนทุกครั้ง

Diary Note 20 February 2017

บันทึกการเรียนครั้งที่ 4

  • หัวข้อที่จะสอนได้มาจาก 
-สิ่งที่เด็กสนใจ
-สาระที่ควรเรียนรู้
-สิ่งที่ใกล้ตัวเด็ก
-สิ่งที่มีผลกระทบกับตัวเด็ก
  • การแตกมายแม๊ปปิ้ง
-เพื่อให้รู้ว่าเรื่องนี้มันมีเนื้อหาสาระอะไรบ้าง เพื่อที่จะได้เลือกสาระที่มีพัฒนาการไปใช้กับเด็ก
  • การออกแบบการจัดการเรียนการสอน
-ก่อนที่จะมีหลักการต้องมีความเชื่อก่อน
-ความเชื่อใรเรื่องฺของพัฒนาการ(ดิวอิ้)
-การสร้างองค์ความรู้
  • ย่อยมาหาหลักการ
-การออกแบบกิจกรรมผ่านกิจกรรมการเล่น 6 กิจกรรม
-ก่อนที่จะได้แนวคิดต้องเข้าใจหัวเรื่อวก่อน
-พอได้แนวคิดแล้วจะได้ประสบการณ์สำคัญต้องได้ทั้ง 4 ด้าน
-มาตรฐานคือ เกณฑ์ขั้นต่ำ
  • ปัญหาสิ่งที่อยากรู้
-ตั้งคำถาม/ตั้งสมมุติฐาน  เช่น ถ้าหยดสีลงไปแล้วไข่จะเปลี่ยนเป็นสี.....

เคลื่อนไหวและจังหวะวันจันทร์



สาธิตการสอนกิจกรรมเสริมประสบการณ์



สิ่งที่ได้รับในวันนี้
ตนเอง
-ได้หลักการต่างๆและเทคนิคในการสอนแผนเคลื่อนไหวและการสอนกิจกรรมอื่นๆ
เพื่อน
-ให้ความร่วมมือดี
อาจารย์
-มีเทคนิคในการสอนที่ดีและมีสื่อการสอนที่ทันสมัยน่าเรียนและยังเต็มที่กับการสอนทุกครั้ง

Diary Note 6 February 2017

บันทึกการเรียนครั้งที่ 3


  • หลักการจัดการศึกษาปฐมวัย
  1. การสร้างหลักสูตรที่เหมาะสม 
  2. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็ก
  3. การจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็ก
  4. การบูรณาการการเรียนรู้
  5. การประเมินพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็ก  โดยการ สังเกต สนทนา ผลงานของเด็ก
  6. ความสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับครอบครัวของเด็ก
  • สาระ คือ เนื้อหา กระบวนการ ทักษะ จะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน
  1. ประสบการณ์สำคัญ คือ ลงมือปฏิบัติ
  2. สาระที่ควรรู้ คือ เนื้อหา
  • คุณลักษณะตามวัย คือ พัฒนาการของเด็กนำมาเขียนแส้งสะท้อนว่าเด็กทำอะไรบ้าง
  • โครงสร้างหลักสูตร
         -การจัดชั้นเรียน

  • สิ่งที่คิดอันดับแรกที่จะสอนเด็ก คือ ต้องได้เรื่องที่จะสอน หรือได้หน่วยที่จะนำมาสอนเด็ก

  • แบ่งกลุ่มวางแผนการจัดประสบการณ์  กิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะ
หน่วยเรื่อง สัตว์น่ารัก

                                          วันจันทร์                  รู้จักสัตว์
                                          วันอังคาร                ลักษณะของสัตว์
                                          วันพุธ                      ประเภทของสัตว์
                                          วันพฤหัสบดี            ประโยชน์ของสัตว์
                                          วันศุกร์                    ข้อควรระวังของสัตว์



สิ่งที่ได้รับในวันนี้
ตนเอง
-ได้หลักการต่างๆและเทคนิคในหารเขียนแผน
เพื่อน
-ให้ความร่วมมือดี
อาจารย์
-มีเทคนิคในการสอนที่ดีและมีสื่อการสอนที่ทันสมัยน่าเรียน


วันอาทิตย์ที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2560

Diary Note 30 January 2017

บันทึกการเรียนครั้งที่ 2

  • อาจารย์บอกเทคนิคการจัดเด็กให้เป็นวงกลม โดยการร้องเพลง
เพลงจัดแถว
ยืนให้ตัวตรง  ก้มหัวลงตบมือแผะ
แขนซ้ายอยู่ไหน  หัวตัวไปทางนั้นแหละ
ยืนให้ตัวตรง  ก้มหัวลงตบมือแผะ
แขนขวาอยู่ไหน  หัวตัวไปทางนั้นแหละ

  • จัดมุมประสบการณ์เพื่อให้เด็กมีอิสระในการตัดสินใจ มีมุมประสบการณ์เพื่อให้พัฒนาต่อการเรียนรู้ของเด็ก
  • บรรยากาศการจัดการชั้นเรียน
-การจัดมุม
-การจัดที่นั่ง
-รับผิดชอบขิงตัวเอง เช่น แปรงสีฟัน แก้วน้ำ

เพลงเก็บของ
เก็บ เก็บ เก็บ มาช่วยกันเก็บของที
เร็วคนดี มาเก็บเข้าที่เร็วไว

  • ตอนทำกิจกรรมกลางแจ้ง
-ให้เด็กเข้าแถว โดยการร้องเพลงเข้าแถว
เพลงเข้าแถว
เข้าแถว เข้าแถว  อย่าล้ำแนวยืนเรียงกัน
อย่ามัวแชเชือน  เดินตาม เพื่อนให้ทัน
ระวังจะเดินชนกัน  เข้าแถวพลันว่องไว

  • เพลงเก็บเด็ก
ปิดหูซ้ายขวา    ปิดตาสองข้าง

ปิดปากเสียบ้าง   แล้วนั่งสมาธิ  อึ๊บ



จิ๊บ  จิ๊บ  จิ๊บ    นกกระจิบบินมา

จ๊อก จ๊อก จ๊อก  นกกระจอกบินมา

จิ๊บ จิ๊บ จิ๊บ  นกกระจิบบินไป

จ๊อก จ๊อก จ๊อก นกกระจอกบินไป



      เรามีตาไว้ดู    เราหูไว้ฟัง     
คุณครูท่านสอนท่านสั่ง

ต้องตั้งใจฟัง ต้องตั้งใจดู



เปิดปิด   เปิดปิด

ทำเสียงนิด นิด

แล้วเอามือวางไว้ที่ตัก


ปรบมือแปะแปะแปะ เรียกแพะเข้ามา
แพะไม่มา เอามือปิดปากรูดซิบ



บอกกับคนซ้ายมือ  ว่าน่ารักจัง

บอกกับคนขวามือ   ว่าน่ารักจัง

บอกกับเพื่อนทุกคน  ทุกคนๆ

บอกกับเพื่อนทุกคน  ไม่เว้นสักคน

บอกกับเพื่อนทุกคน   ทุกคนว่าน่ารักจัง



เพลงสวัสดี

สวัสดีแบบไทย ๆแล้วก็ไปแบบสากลสวัสดีทุกๆคน

แบบสากลแล้วก็แบบไทย


-ถ้าร้องเพลงเก็บเด็กแล้ว เด็กเสียงดังอย่าไปตะโกนแข่งกับเด็ก ให้หาเทคนิคในการเก็บเด็กเช่น ถ้าเป็นเด็กโต ครูอาจจะเงียบเด็กก็จะรู้เองว่าตัวเองต้องเงียบ

  • การสร้างข้อตกลงจะดีที่สุด
  • การออกแบบต้องจัดให้เหมาะสมสอดคล้องกับการเรียนรู้
สิ่งที่ได้รับในวันนี้
ตนเอง
-ได้เพลงเก็บเด็กแต่วิธีการทำกิจกรรมต่างๆที่ถูกต้องและสอดแสรกเทคนิคต่างๆเข้าไปด้วย
เพื่อน
-ให้ความร่วมมือดี
อาจารย์
-มีเทคนิคในการสอนที่ดีและมีสื่อการสอนที่ทันสมัยน่าเรียน






Diary Note 23 January 2017

บันทึกการเรียนครั้งที่ 1


จุดมุ่งหมายของรายวิชา
1.ทักษะด้านคุณธรรมจริยธรรม
   1.1 มีความซื่อสัตย์สุจริตและเสียสละ
   1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
   1.3 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
   1.4 เคารพกฎระเบียบ 
   1.5 มีสัมมาคารวะ
2.ทักษะด้านความรู้
   2.1 มีความรู้ความเข้าใจ
   2.2 วิเคราะห์ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย
   2.3 วิเคราะห์เทคนิคและกิจกรรม เพื่อนำมาใช้สำหรับการจัดประสบการณ์ให้กับเด็ก
   2.4 วิเคราะห์หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยและการจัดประสบการณ์
   2.5 วิเคราะห์การจัดบรรยากาศของห้องเรียน
   2.6 อธิบายกระบวนการประเมินผลการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็ก
3.ทักษะทางปัญญา
   3.1 สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ
   3.2 สามารถสืบค้น ตีความ ประเมินปัญหา
   3.3 สามารถวิเคราะห์ปัญหา สรุปปัญหา
   3.4 สามารถประยุกต์ความรู้ เพื่อนำไปใช้จัดประสบการณ์ให้กับเด็กพิเศษปฐมวัย
4.ทักษะด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
   4.1 สามารถใช้ภาษาในการสื่อสาร
   4.2 สามารถให้ความช่วยเหลือร่วมมือในการแก้ปัญหาต่างๆทั้งบทบาทการเป็นผู้นำและผู้ร่วมงาน
   4.3 สามารถเป็นผู้ริเริ่มประเด็นปัญหา
   4.4 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ของตนในวิชาชีพครูปฐมวัยอย่างต่อเนื่อง
5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
   5.1 มีทักษะการใช้เครื่องมือที่จำเป็นในปัจจุบัน
   5.2 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาะทั้งด้านการพูด การเขียน
   5.3 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสิบค้น
6. ทักษะการจัดการเรียนรู้
   6.1 มีความสามารถออกแบบการจัดประสบการณ์ที่เหมาะสม
   6.2 มีความสามารถเขียนแผนการจัดประสบการณ์ที่บูรณาการ
   6.3 มีทักษะและประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัยได้หลากหลาย 
   6.4 มีความสามารถจักประสบการณ์ทั้งเด็กปกติและเด็กพิเศษที่เรียนร่วมได้
   6.5 มีความสามารถในการวางแผนการจัดการเรียนรู้และนำกิจกรรมทางการศึกษาปฐมวัยมาบูรณาการกับการสอน


  • การเรียนรู้คือ 

คือ เด็กเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ถ้าไม่เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมคือการทำงานของสมอง

  • การทำงานของสมอง

การรับรู้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 มาสมานความรู้เดิม  เกิดความรู้ใหม่  เพื่อความอยู่รอดของตัวเอง

  • การเล่น เป็นวิธีของการเรียนรู้
  • ความสนใจความต้องการของเด็กจะสะท้อนถึงพัฒนาการของเด็กออกมา
-อาจารย์พูดคุยเกี่ยวกับเรื่องที่ไปสังเกตเด็กของแต่ละโรงเรียน
     -อาจารย์บอกเทคนิคของกิจกรรมต่างๆ
-ทำมายแมปปิ้งรูปแบบ
-เขียนตารางกิจวัตรประจำวันของแต่ละคน 

สิ่งที่ได้รับในวันนี้
ตนเอง
-ได้ตกลงกฎของรายวิชานี้และรู้จักเทคนิคต่างๆในการทำกิจกรรมต่างๆ
เพื่อน
-ให้ความร่วมมือดี
อาจารย์
-มีเทคนิคในการสอนที่ดีและมีสื่อการสอนที่ทันสมัยน่าเรียน